Search Result of "Soybean oil"

About 48 results
Img
Img
Img
Img
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Antioxidant properties of teaw (Cratoxylum formosum Dyer) extract in soybean oil and emulsions

ผู้แต่ง:ImgMaisuthisakul P., ImgDr.Rungnaphar Pongsawatmanit, Associate Professor, ImgGordon M.H.,

วารสาร:

Img Img

Img
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Stabilization of epoxidized soybean oil-plasticized poly(vinyl chloride) blends via thermal curing with genistein

ผู้แต่ง:ImgDr.Sasiwimon Buddhiranon, Lecturer, ImgTeng Chang, ImgKang Li Tang, ImgThein Kyu,

วารสาร:

Img Img

Img
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Lime peel pectin integrated with coconut water and lime peel extract as a new bioactive film sachet to retard soybean oil oxidation

ผู้แต่ง:ImgRodsamran, P., ImgDr.Rungsinee Sothornvit, Professor,

วารสาร:

Img Img

Img
Img
Img
Img
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Effect of Cratoxylum formosum Extract and Stripping on Soybean Oil Stability)

ผู้เขียน:ImgPitchaon Maisuthisakul, ImgSuphan Charuchongkolwongse

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Natural tocopherols in soybean oil have a favourable influence on oxidative stability. To study this impact, the antioxidant activity of ethanolic extract of Cratoxylum formosum (Jack) Dyer (C. formosum) was investigated in stripped and non-stripped refined soybean oils comparing to ?-tocopherol and BHT. Peroxide value (PV), thiobarbituric acid reactive substances (TBARS) and oxidative stability index (OSI) values were measured. The results of PV, TBARS and OSI values of non-stripped and stripped oils containing C. formosum extract were significantly lower than that of control and sample containing ?-tocopherol but higher than other containing BHT. The antioxidant activity of ?-tocopherol (at 100 mg.kg-1) was effective in stripped oil only. In addition, changes of the PV, TBARS and OSI values in non-stripped oil were slower than these in stripped oil. These results suggested that C. formosum can be a promising source for natural antioxidant. Moreover, natural tocopherols in refined soybean oil affect on the antioxidant property of studied compounds.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 041, Issue 5, Jan 07 - Dec 07, Page 350 - 356 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Effects of Soybean Oil Meal as the Whole Source of Protein on Rate of Gain and Feed Efficiency of Growing and Finishing Pigs)

ผู้เขียน:ImgKruawal Hutanuwatr, ImgUtai Pisone

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

ในวงการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบันใช้ปลาป่น กากถั่วเหลือง หรือกากถั่วลิสงเป็นแหล่งโปรตีนโดยทั่วไป โปรตีนจากสัตว์มีโปรตีนสูง และคุณภาพดีกว่าโปรตีนจากพืช โดยเฉพาะมีกรดอมิโนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสุกร เช่น ไลซีน และทริปโตเฟน ฯลฯ สูง จึงมักนิยมใช้ปลาป่นเป็นหลัก แต่โปรตีนจากกากถั่วเหลือง (เมื่อนำมาอัดน้ำมันด้วยกรรมวิธีที่ถูกต้องมีอุณหภูมิที่พอเหมาะ) ประกอบด้วยกรดอมิโนดังกล่าวข้างต้นอยู่อย่างสมบูรณ์ และอยู่ในสัดส่วนที่พอเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสุกร เป็นที่ทราบกันดีว่าอาหารกากถั่วเหลืองป่น+ข้าวโพด (corn-soybean meal diet) เมื่อนำมาเลี้ยงสุกร การเจริญเติบโตประสิทธิภาพการใช้อาหารและคุณภาพของซากเป็นที่น่าพอใจ Dwance และผู้ร่วมงาน (2) พบว่าการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพการใช้อาหารของสุกรที่เลี้ยงด้วยอาหารข้าวโพด กากถั่วเหลือง จะไม่ต่างจากอาหารข้าวโพด+เนื้อป่น Becker et a1 (1) รายงานว่า อาหารกากถั่วเหลือง ข้าวโพด เมื่อนำมาเลี้ยงสุกร จะได้ผลเป็นที่น่าพอใจ และยังแนะนำว่าไม่ควรใช้ปลาป่นเกิน 50 เปอร์เซ็นต์ ของอาหารโปรตีน (protein supplement) เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปลาป่นค่อนข้างจะหายากและราคาแพง (เมื่อเริ่มการทดลองในเดือนมิถุนายน 2515 ปลาป่นราคา กก. ละ 5.50-6 บาท กากถั่วเหลือง กก. 4 บาท) ในการทดลองนี้จึงมุ่งที่จะหาแหล่งโปรตีนจากพืชที่สามารถใช้แทนปลาป่นได้ทั้งหมด โดยไม่ทำให้การเจริญเติบโต และประสิทธิภาพของการใช้อาหารเปลี่ยนแปลง

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 008, Issue 2, Jul 74 - Dec 74, Page 98 - 102 |  PDF |  Page 

Img

Researcher

ดร. เมธี สายศรีหยุด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์

Resume

Img

Researcher

ดร. วิน สุรเชษฐพงษ์, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน คณะสัตวแพทยศาสตร์

สาขาที่สนใจ:Immunology, Vaccine, Aquatic Animal Diseases, Veterinary Microbiology

Resume

Img
Img
Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:การใช้ประโยชน์สารสกัดจากหัวกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) เพื่อใช้เป็นวัตถุกันหืนธรรมชาติในผลิตภัณฑ์น้ำมันถั่วเหลือง และมายองเนส

ผู้เขียน:Imgพรรณทิพา เจริญไทยกิจ

ประธานกรรมการ:Imgดร.ธงชัย สุวรรณสิชณน์, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:Imgสิทธิวัฒน์ เลิศศิริ

กรรมการวิชารอง:Imgสุมนรัตน์ ชื่นพุฒิ

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

123